- - - - - -
A+ R A-

แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของหน่วยงาน เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ ในตัวชี้วัดการ  เปิดเผยข้อมูล และการป้องกันการทุจริต สำหรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

    ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน
 ข้อ  ข้อมูล
ข้อมูลพื้นฐาน
O1  โครงสร้าง
O2  ข้อมูลผู้บริหาร
O3  อำนาจหน้าที่
O4  แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน
O5  ข้อมูลการติดต่อ
O6  กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การประชาสัมพันธ์
 O7   ข่าวจากกลุ่มงานต่างๆ
  ข่าวประชาสัมพันธ์
การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
 O8  Q&A
 Q&A Web Board
 O9  Social Network
O10  นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงาน
 ข้อ  ข้อมูล
การดำเนินงาน
O11  แผนดำเนินงานประจำปี
O12  รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน
O13  รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
การปฏิบัติงาน
 O14  คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
การให้บริการ
 O15  คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
 O16  ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
 O17  รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
 O18  E–Service

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 การบริหารเงินงบประมาณ
 ข้อ  ข้อมูล
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
 O19  แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
 O20  ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
 ประกาศต่างๆ กลุ่มบริหารการเงิน
 O21  สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
 O22  รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
 ข้อ  ข้อมูล
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
 O23  นโยบายการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
 O24  การดำเนินการตามนโยบายการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
 O25  หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
 O26  รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส
 ข้อ  ข้อมูล
การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
 O27  แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
 O28  ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
 O29  ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
 O30  การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

 

    ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต  ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การดําเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
 ข้อ  ข้อมูล
เจตจํานงสุจริตของผู้บริหารและนโยบายไม่รับของขวัญ (No Gift Policy)
O31  เจตจํานงสุจริตของผู้บริหาร และนโยบายไม่รับของขวัญ (No Gift Policy)
O32  การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
O33  รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต
O34  การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
 O35  การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ
แผนป้องกันการทุจริต
 O36  แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
 O37  รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนป้องกันการทุจริต รอบ 6 เดือน
 O38  รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี

 

ตัวชี้วัดย่อย 10.2 มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
 ข้อ  ข้อมูล
มาตรการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม
O39  ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
O40  การขับเคลื่อนจริยธรรม
O41  การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
มาตรการส่งเสริมความโปร ่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
O42  มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
O43  การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน